เทศกาลนวราตี

นวราตรี เป็นเทศกาล ในศาสนาฮินดูรายปีที่เฉลิมฉลองเทิดเกียรติ แด่พระแม่ทุรคา ปางหนึ่งของพระแม่อุมาเทวี คำว่า นวราตรี มาจากภาษาสันสกฤต คำว่า นว แปลว่าเก้า และ ราตรี แปลว่าค่ำคืน จึงแปลรวมกันว่า เก้าคืน กินระยะเวลาเก้าคืน ในเดือนอัศวินตามปฏิทินฮินดู ตามปรัมปราวิทยาฮินดู เชื่อว่าเก้าปางอวตาร คือพระทุรคาทั้งเก้าระยะ ในระหว่างการรบกับเจ้าแห่งอสูร มหิษาสูร และวันที่สิบจะฉลองเป็นวันวิชัยทัศมี ( วันแห่งชัยชนะ) การเฉลิมฉลองนี้ถือเป็นเทศกาลที่สำคัญที่สุดเทศกาลหนึ่งของชาวฮินดู ที่มา นวราตรีมีความหมายเดียวกับทุรคาบูชา เฉลิมฉลองชัยชนะของพระทุรคาเหนืออสูรควาย …

เทศกาลนวราตี Read More

ไหว้พระพรหม พักตร์ไหน มีความหมายว่าอะไร

พระพรหมเป็นเทพผู้สร้างและกำหนดความเป็นไปของทุกสิ่ง ผู้ที่บูชาพระพรหมและประพฤติดี กระทำแต่ความดี จะได้รับการบันดาลพรให้สมหวังตามที่หวังไว้ พระพรหมทรงมีพระพักตร์สี่หน้า ในทางพุทธ อาจหมายถึงพรหมวิหารสี่ เมื่อตั้งมั่นและยึดถือปฏิบัติก็ย่อมได้รับแต่สิ่งดี ๆ

ไหว้พระพรหม พักตร์ไหน มีความหมายว่าอะไร Read More

บาบา วานก้า หมอดูตาบอดชื่อดัง ทำนายอนาคตโลก

บาบา วานก้า หมอดูตาบอด ทำนายอนาคตโลก เธอได้รับการตั้งฉายาว่า นอสตราดามุสแห่งบอลข่าน “Nostradamus from the Balkans” ชื่อโดยกำเนิดของเธอคือ Vangelija Gušterova แต่คนส่วนใหญ่จะรู้จักเธอในนามบาบา วานก้า หรือคุณยายวานก้า คำทำนายของคุณยายผู้นี้นั้นเป็นจริงมากกว่า 85%

บาบา วานก้า หมอดูตาบอดชื่อดัง ทำนายอนาคตโลก Read More

ความหมายธงกฐิน จระเข้-ตะขาบ-นางมัจฉา-เต่า

ในการทอดกฐินหรือการถวายผ้ากฐิน มีความเกี่ยวเนื่องกับธงกฐินมาแต่อดีต  ธงกฐิน เป็นเครื่อง หมายแสดงให้รู้ว่าวัดนี้ได้รับผ้ากฐินแล้วมี 4 แบบ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แสดงเกี่ยวข้องกับงานกฐิน

ความหมายธงกฐิน จระเข้-ตะขาบ-นางมัจฉา-เต่า Read More

วีอาร์ดี ชวนทำดี ร่วมทำบุญบูรณะพระอุโบสถ วัดโปรดเกษ จ.นนทบุรี

วัดโปรดเกษ ตั้งอยู่ริมคลองพระอุดม ตำบลคลองพระอุดม เขตอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โบราณว่า…ใครที่ดวงตก โดนของ หรือรู้สึกว่าตัวเองโชคไม่ดี ทำอะไรก็ติดขัดไปหมด ต้องมาทำบุญดีดโบสถ์

วีอาร์ดี ชวนทำดี ร่วมทำบุญบูรณะพระอุโบสถ วัดโปรดเกษ จ.นนทบุรี Read More

วันอาสาฬหบูชา

วันอาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธ คำว่า อาสาฬหบูชา ย่อมาจาก อาสาฬหปูรณมีบูชา แปลว่า การบูชาในวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย ซึ่งมักจะตรงกับเดือนกรกฎาคมหรือเดือนสิงหาคม แต่ถ้าในปีใดมีเดือน 8 สองหน ก็ให้เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 8 หลังแทน

วันอาสาฬหบูชา Read More